สดร.โชว์กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติเชื่อมต่อเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุสหภาพยุโรป

สดร.โชว์กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติขนาด 40 เมตร พร้อมเชื่อมต่อเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งสหภาพยุโรป เสริมศักยภาพงานวิจัย ไขปริศนาเอกภพ

Continue Reading

อย่าลืม.. คืนนี้นั่งจ้องท้องฟ้า มองหาฝนดาวตกเจมินิดส์ คาดอัตราตกเฉลี่ยสูงสุดหลังเที่ยงคืน 120-150 ดวงต่อชั่วโมง

สดร.ชวนชาวไทยชมปรากฏการณ์ฝนดาวตกเจมินิดส์ หรือฝนดาวตกกลุ่มดาวคนคู่ คืน 14 ถึง รุ่งเช้า 15 ธันวาคม 2566 เริ่มสังเกตได้เวลาประมาณ 20:00 น. เป็นต้นไปจนถึงรุ่งเช้า คาดมีอัตราการตกเฉลี่ยสูงสุดช่วงหลังเที่ยงคืน ประมาณ 120-150 ดวงต่อชั่วโมง

Continue Reading

กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ ร่วมค้นพบการปะทุของซากดาวฤกษ์ในรูปแบบที่ไม่เคยพบมาก่อน

สดร.เผยกล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ ขนาด 2.4 เมตร ณ หอดูดาวแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ จ. เชียงใหม่ ร่วมทีมวิจัยนานาชาติ สังเกตการณ์ซากดาวฤกษ์ AT2022tsd พบการปะทุหลังเกิดซูเปอร์โนวา ทิ้งห่างมากกว่า 100 วัน ซึ่งไม่เคยสังเกตการณ์ได้มาก่อน

Continue Reading

“ศุภมาส” นำผู้บริหาร อว. ประชุม BRST ครั้งที่ 1 ณ นครฉงชิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน

อว.จับมือจีนและนานาประเทศใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก้ปัญหาความยากจน พร้อมหารือรับความท้าทายใหม่ด้านการพัฒนาสีเขียว ความเป็นกลางทางคาร์บอน พลังงานสะอาด เอไอ ควอนตัม เทคโนโลยีอวกาศ

Continue Reading

รอชม “จันทรุปราคาบางส่วน” เหนือฟ้าเมืองไทย เช้ามืดวันออกพรรษา 29 ตุลาคมนี้

สดร. เผยเช้ามืดวันออกพรรษา 29 ตุลาคม 2566 จะเกิด “จันทรุปราคาบางส่วน” เวลาประมาณ 02:35-03:52 น. ดวงจันทร์เต็มดวงจะปรากฏเว้าแหว่งมากที่สุดเพียงร้อยละ 6 สังเกตได้ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ผู้สนใจรับชมถ่ายทอดสดปรากฏการณ์ได้ทางเฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

Continue Reading

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ “หมุน”

เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำใจกลางกาแล็กซี M87 จากการติดตามสังเกตการณ์นานกว่าสองทศวรรษ พบว่าเจ็ทเปลี่ยนทิศทางประมาณ 10 องศา เป็นวัฏจักรที่มีคาบ 11 ปี นับเป็นหลักฐานแรกที่บ่งชี้และยืนยันว่าหลุมดำอาจกำลังหมุน งานวิจัยดังกล่าว ตีพิมพ์ลงในวารสาร Nature เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2566 ที่ผ่านมา

Continue Reading

8-17 กันยายนนี้ ! ลุ้นชมดาวหางนิชิมูระเฉียดโลก

สดร.เผยช่วงวันที่ 8 ถึง 17 กันยายน 2566 มีโอกาสเห็นดาวหาง “นิชิมูระ” (C/2023 P1) (ซีสองศูนย์สองสาม พีหนึ่ง) ซึ่งเพิ่งค้นพบเมื่อเดือนสิงหาคม โดยอาจสังเกตได้ชัดเจน เนื่องจากจะอยู่ใกล้โลกมากสุดในวันที่ 12 กันยายนนี้ และสว่างมากเมื่อใกล้ดวงอาทิตย์ หากฟ้าใสไร้เมฆฝน ในพื้นที่มืดสนิทมีลุ้นดูได้ด้วยตาเปล่า

Continue Reading

ชวนจับตา 2 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ส่งท้ายเดือนสค. “ดาวเสาร์ใกล้โลก – ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกสุดในรอบปี”

สดร. ชวนติดตาม 2 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ส่งท้ายเดือนสิงหาคม “27 ส.ค. 66 – ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี” และ “คืน 30 ถึงเช้า 31 ส.ค. 66 – “ซูเปอร์บลูมูน” ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี” หากฟ้าใส ไร้ฝน ดูได้ด้วยตาเปล่าทุกภูมิภาคทั่วประเทศ

Continue Reading