กรมอุทยานฯใช้แสงซินโครตรอนไขปริศนา “ ช้างชนกัน (ทำไม) งาหัก”

ซินโครตรอน-กรมอุทยานฯ เผยผลวิเคราะห์งาช้าง กรณีต่อสู้กันจนงาหักพบแคลเซียมต่ำ สอดคล้องกับผลวิเคราะห์ดินโป่งที่แร่ธาตุจำเป็นบางชนิดละลายได้ง่ายจึงถูกน้ำชะล้าง นอกจากนี้ช้างป่ายังไม่กินดินโป่งที่มีกลิ่นนักท่องเที่ยวเข้าไปเหยียบย่ำ พร้อมเผยแพร่ข้อมูลเพื่อเสริมดินโป่งในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ให้มีความเหมาะสมในการจัดการสุขภาพช้างป่าอย่างยั่งยืน

Continue Reading

นักวิทย์ซินโครตรอน-ม.เกษตร ผนึกกำลังปีนผาไต่ถ้ำพังงาสำรวจภาพเขียนสีโบราณ 3,000 ปี

นักวิทยาศาสตร์สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ผนึกกำลังกับทีมนักวิจัยหลายมหาวิทยาลัย ออกสำรวจภาพเขียนสีโบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์อายุราว 2,000-3,000 ปี พร้อมเครื่องมือตรวจวัดทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นข้อมูลวิเคราะห์หาแหล่งวัตถุดิบภาพวาด …

Continue Reading