ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ หารืองานวิจัยพืชสมุนไพร ร่วมกับซินโครตรอน กระทรวง อว.

ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ เยี่ยมชมสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน พร้อมศึกษาดูงานการวิเคราะห์คุณสมบัติของพืชสมุนไพร พร้อมแลกเปลี่ยนแนวคิดการวิจัย ภายใต้เป้าหมายยกระดับเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรและวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเครื่องสำอางฮาลาลสู่ตะวันออกกลาง

Continue Reading

“ทุเรียนแช่เยือกแข็ง” จากซินโครตรอนคว้ารางวัล Gold Award จากนายกรัฐมนตรี

“ทุเรียนแช่เยือกแข็ง” จากซินโครตรอน กระทรวง อว. คว้ารางวัล Gold Award จากนายกรัฐมนตรี ในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ ’67

Continue Reading

มหกรรมวิทย์ โดย กระทรวง อว. ชวนสัมผัส “ซินโครตรอนในชีวิตประจำวัน”

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ร่วมจัดนิทรรศการ “ซินโครตรอนในชีวิตประจำวัน – Synchrotron in Your Daily Life” ภายในงาน “มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ” ที่จัดขึ้นโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) ระหว่างวันที่ 16 – 25 สิงหาคม 2567 ณ อาคาร 9-12 อิมแพ็ค เมืองทองธานี และแสดงผลงานที่ผ่านวิจัยด้วยแสงซินโครตรอน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่รอบตัวในชีวิตประจำวันตั้งแต่เช้าถึงเย็น

Continue Reading

ซินโครตรอนจับมือ มทร.อีสาน ยกระดับผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชน “ภูชีวกะ”

อว. โดย สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน และ มทร.อีสาน นำทีมนักวิทยาศาสตร์และอาจารย์มหาวิทยาลัยลงพื้นที่ ต.ตูม อ.ปักธงชัย หารืองานวิจัยต่อยอดให้แก่ วิสาหกิจชุมชน (วสช.) ภูชีวกะ มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างความยั่งยืนสู่ชุมชนด้วยเทคโนโลยีแสงซินโครตรอน

Continue Reading

นักวิทย์ไทยใช้ซินโครตรอนตรวจพบสารปนเปื้อนจากเชื้อเพลิงฟอสซิลที่แอนตาร์กติกา

นักวิทยาศาสตร์นำตัวอย่างดินจากขั้วโลกใต้มาวิเคราะห์ด้วยแสงซินโครตรอนที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) จ.นครราชสีมา พบตะกอนดินปนเปื้อนจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลและกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่สถานีวิจัยในทวีปแอนตาร์กติกา ผลการวิจัยนี้จะนำไปสู่แนวทางการควบคุมกิจกรรมที่ทำให้เกิดการปนเปื้อน

Continue Reading

ซินโครตรอน- อว. จับมือ MEA ติดโซลาร์รูฟช่วยรัฐประหยัดค่าไฟปีละ 1.78 ล้านบาท

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ร่วมมือกับการไฟฟ้านครหลวง เดินหน้าโครงการติดตั้งโซลาร์รูฟให้อาคารต่างๆ ของสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน รองรับการใช้พลังงานไฟฟ้าของอาคารสำนักงานทั้งหมด ช่วยรัฐประหยัดค่าไฟปีละ 1.78 ล้านบาท รวมตลอดโครงการประหยัดไฟได้ประมาณ 21 ล้านบาท และยังช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกปีละกว่า 500 ตัน เทียบเท่าปลูกต้นไม้ปีละ 295 ต้น

Continue Reading

SCGC – ซินโครตรอนเดินหน้าร่วมพัฒนาเคมีภัณฑ์ ลดคาร์บอน ลดพลาสติก

เอสซีจีเคมิคอลส์ จับมือ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) สานต่อความร่วมมือทางวิชาการ หลังประสบความสำเร็จในการพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ของบริษัทจากความร่วมมือตลอด 5 ปีที่ผ่านมา พร้อมทำสัญญาบริการวิจัยระหว่างสถาบันฯ และไทยโพลิเอททิลีน เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางด้านโพลิเมอร์และเคมีภัณฑ์ ที่ตอบโจทย์ด้านการลดการปลดปล่อยคาร์บอนและเศรษฐกิจหมุนเวียน รวมถึงการใช้งานในอุตสาหกรรมในอนาคต

Continue Reading

กรมอุทยานฯใช้แสงซินโครตรอนไขปริศนา “ ช้างชนกัน (ทำไม) งาหัก”

ซินโครตรอน-กรมอุทยานฯ เผยผลวิเคราะห์งาช้าง กรณีต่อสู้กันจนงาหักพบแคลเซียมต่ำ สอดคล้องกับผลวิเคราะห์ดินโป่งที่แร่ธาตุจำเป็นบางชนิดละลายได้ง่ายจึงถูกน้ำชะล้าง นอกจากนี้ช้างป่ายังไม่กินดินโป่งที่มีกลิ่นนักท่องเที่ยวเข้าไปเหยียบย่ำ พร้อมเผยแพร่ข้อมูลเพื่อเสริมดินโป่งในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ให้มีความเหมาะสมในการจัดการสุขภาพช้างป่าอย่างยั่งยืน

Continue Reading

ซินโครตรอนส่ง “กราฟีน-กาแฟ”งานวิจัยบนฐาน BCG ร่วมงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2566

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ส่งผลงานวิจัยบนแนวคิดเศรษฐกิจ BCG ร่วมแสดงภายในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2566 ชู 2 ผลงานเด่น “กราฟีนจากขยะ” หมุนเวียนคาร์บอนสู่วัสดุกราฟีน ลดการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศ และ “การพัฒนาคุณภาพเมล็ดกาแฟอราบิก้าไทยด้วยแสงซินโครตรอน” สู่ตลาดกาแฟชนิดพิเศษ เพื่อเพิ่มรายได้แก่เกษตรกร

Continue Reading

นาโนเทคออกแบบวัสดุดูดซับยาโซลิโดรนิกแอซิด สู่ต้นแบบวัสดุทางการแพทย์ ลดเสี่ยงในผู้ป่วยมะเร็ง-กระดูกพรุน

นักวิจัยนาโนเทค สวทช.ร่วมกับพันธมิตรหลายภาคส่วน ต่อยอดองค์ความรู้ด้านถ่านกัมมันต์ที่มีรูพรุนร่วมกับแมกนีเซียมออกไซด์ สู่วัสดุดูดซับยาโซลิโดรนิก แอซิด (Zoledronic acid; ZA) ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการสลายตัวของกระดูกในผู้ป่วยมะเร็ง-กระดูกพรุน ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายเมื่อใช้ยาโซลิโดรนิกแอซิดในระยะยาว ด้วยจุดเด่น เพิ่มพื้นที่ผิว-เพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับ และยังเข้ากันได้ดีกับเซลล์มนุษย์ สู่ต้นแบบวัสดุทางการแพทย์ที่สามารถต่อยอดใช้ประโยชน์ได้ในอนาคต พร้อมเดินหน้าวิจัยเพิ่มในรูปของ Nanotube และ Nanopore ที่มีประสิทธิภาพการดูดซับสูงยิ่งขึ้น

Continue Reading